การทำชิ้นส่วนแบบลามิเนต

เครื่องบินแบบต่างๆที่ได้แนะนำไปแล้วจะมีโครงลำตัว ปีก หางเป็นเส้นตรง แต่ในการทำเครื่องบินแบบจำลองจากเครื่องบินจริงนั้น ส่วนมากแล้วทั้งลำตัว

เครื่องบินหรือเครื่องร่อน

จากการที่มีการแข่งขันเครื่องบินและเครื่องร่อนของ สพฐ.ขึ้น ทำให้มีผู้สนใจในเครื่องบินเล็กใช้พลังยางเพิ่มขึ้นด้วย

มารยาทในการเล่นเครื่องบินเล็ก

การเล่นหรือชมการเล่นต่างๆเช่นภาพยนต์ ดนตรีนั้นก็ย่อมต้องมีมารยาทของกลุ่มคนที่อยู่ในที่นั้นๆ การเล่นเครื่องบินเล็กก็เช่นกัน หากเราเป็นผู้เล่น

เครื่องบินแบบบินในร่ม [Indoor]

เครื่องบินประเภทนี้จะแตกต่างจากเครื่องบินแบบบินกลางแจ้งหรือ Outdoor ตรงที่ลักษณะการใช้กำลังจากยาง โดยเครื่องบิน Outdoor จะใช้กำลังยางที่มีความแรงเพื่อให้สามารถดึงตัวเครื่องบินที่ค่อนข้างหนักให้สู้กับกระแสลมขึ้นไปให้สูงๆ

การปรับแต่งเครื่องบินแบบ Delta Dart

เครื่องเดลต้าดาร์ทนี้เป็นเครื่องบินใช้ยางแบบที่มีการสร้างขึ้นมามากที่สุดในโลก แต่แรกเริ่มนั้นได้มีการลงแบบแปลนและวิธีสร้างเครื่องบิน Delta Dart ในนิตยสาร American Modeler เมื่อปี ค.ศ. 1967 [พ.ศ.2510] โดยผู้ออกแบบคือ แฟรงค์ เอห์ลิ่ง [Frank Ehling]

มีดซอยไม้บัลซ่า เพิ่มเติม

การจะตัดไม้บัลซ่าให้เป็นแท่งเล็กๆนั้นถ้าไม้มีความหนาตั้งแต่ 1/16 นิ้วขึ้นไปเราคงจะพอใช้การวัดด้วยไม้บรรทัดแล้วใช้มีดตัดเอาได้ แต่ในการทำเครื่องบิน Indoor ที่ใช้ไม้หนา 1/32 นิ้วมาตัดซอยให้เป็นไม้ขนาด 1/32 x 1/32 นิ้วนั้นคงจะวัดหรือกะได้ยาก

การบุกระดาษ

เครื่องบินใช้ยางนั้นปกติจะมีโครงสร้างทำจากไม้บัลซ่าและบุด้วยกระดาษ ซึ่งกระดาษที่ใช้หากเป็นแบบที่ใช้บุเครื่องบินจะมี ‘ทาง หรือ ลาย'[Grain] ของมันแบบเดียวกับลายไม้ การบุจะให้ grain ไปตามทางยาวของโครงสร้าง

การทำเอ็นปีกแบบ Sliced ribs

อ็นปีก [Rib] ที่เป็นแบบที่มีความโค้งด้านบนนั้นก็มีวิธีทำอยู่สองวิธี ซึ่งทั้งสองวิธีนี้ก็ต้องเริ่มโดยที่เราต้องทำแบบ [Template] เพื่อไว้สำหรับการตัดให้เอ็นปีกแต่ละชิ้นมีขนาดเท่าๆกันขึ้นมาก่อน โดยทำแบบจากไม้หรือแผ่นอลูมิเนียมบางๆ ตามรูปความโค้งของแบบ

เครื่องบินแบบ Micro Rat กางปีก 8 นิ้ว

เครื่องบินแบบนี้ย่อมาจากเครื่องบินแบบ แฮงการ์แร็ต [Hangar Rat] กางปีก 19 นิ้วซึ่งเป็นเครื่องบินที่ออกแบบสำหรับผู้ที่เริ่มหัดทำเครื่องบินใช้ยาง ไมโครแร็ตนี้ย่อส่วนลงมาให้เหลือกางปีกแค่ 8 นิ้วเพื่อเอามาบินในห้องขนาดเล็กๆ