เครื่องบินแบบ EASY SPT-1

เครื่องบินแบบนี้ได้ออกแบบขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับกติกาใหม่ของ สพฐ. โดยสามารถสร้างและทดสอบปรับแต่งการบินได้ภายใน 3 ชั่วโมงก่อนเริ่มการแข่งขัน แต่ต้องเข้าใจว่าไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องบินแบบนี้เท่านั้นเพื่อเข้าแข่งขัน วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ก็มี ไม้บัลซ่าขนาดหนา 1.5 และ 3.0 มม. ใบพัดขนาด 7” ลวดแกนใบพัดขนาด 0.032” ท่ออลูมิเนียมขนาด 1/16” ยางขนาด 3/32” กระดาษบุ กาว ฯลฯขั้นตอนการสร้างก็ต้องมีแบบแปลน ก่อนสร้างก็ต้องใช้เทปใสปิดบริเวณที่จะมีการทากาวเพื่อป้องกันชิ้นส่วนติดกับแบบแปลน  การสร้างนั้นจะใช้วิธี ทำไป ตัดไม้ไป ติดกาวไป […]

การบุกระดาษเครื่องบิน

กระดาษที่จะเอามาบุเครื่องบินนี้จะเป็นกระดาษชนิดเบาเช่นกระดาษอีซากิหรือชนิดอื่นที่มีคุณสมบัติใกล้เคียง กระดาษชนิดที่ว่ามันจะมี

ความรับผิดชอบของผู้สอน

ที่ผมมาเขียนเรื่องนี้ก็เนื่องจากเห็นมีการเปิดการอบรมเรื่องเครื่องบินพลังยางประเภท Advanced และ F1d กันหลายที่

เครื่องบินในร่มประเภท F1D

ในบรรดาเครื่องบินในร่มที่มีการจัดแข่งขันกันนั้น เครื่องบินในร่มประเภท F1D ถือเป็นเครื่องบินชนิดสุดยอดในหลายๆด้านคือ

ไม้บัลซ่าชนิดเบาพิเศษ

มีผู้ที่ถามมาเรื่องไม้บัลซ่าที่เบามากๆนั้นจะหาซื้อได้ที่ไหน ซึ่งในประเทศไทยนี้คงจะไม่มีการคัดมาขายโดยเฉพาะ

น้ำยาหล่อลื่นยางและการหมุนยาง

บทความนี้เขียนขึ้นเพราะมีผู้สอบถามมาเรื่องการใช้น้ำยาหล่อลื่นยางว่าจำเป็นหรือไม่และใช้อย่างไร ต้องบอกก่อนว่ายางที่พูดถึงนี้คือ

EASY BIRD เครื่องบินแบบโครงสร้าง (Build-up)

จากกระแสหรือข่าวลือว่าการแข่งขันเครื่องบินพลังยางในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนปีนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเครื่องบินชนิดโครงสร้าง

เครื่องบินในร่ม F1L F1D และการทำสถิติ Cat.ต่างๆ

คงมีผู้สนใจหลายๆคนที่สงสัยอยู่ว่าเครื่องบินในร่มที่เรียกกันว่าประเภท A-6, EZB, F1D, F1L และอื่นๆนั้นหมายความว่าอย่างไรก็เลยลองเรียบเรียงข้อมูลมาให้ทราบกัน

กติกาการแข่งขันของ FAI และ AMA

เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจในการแข่งขันเครื่องบินพลังยางในร่ม ผมจึงได้เรียบเรียงความเป็นมาและกฏกติกาสากลที่ใช้ในการแข่งขันเครื่องบินประเภทต่างๆไว้